Page 101 - 11526_Fulltext
P. 101

ตอบโจทย์สิ่งแวดล้อมท้องถิ่น : แนวทางการจัดการขยะและน้ำเสียขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                                                                     1
                 	 R การมีส่วนร่วมของประชาชน


                      การมีส่วนร่วมระหว่างท้องถิ่นและเอกชนในการจัดการขยะและ
                 น้ำเสียชุมชนจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย

                 เนื่องจากประชาชนอยู่ในฐานะของผู้รับบริการหรือผู้ได้รับประโยชน์จาก
                 ผลการดำเนินงานโดยตรง ซึ่งในการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมนี้ ท้อง
                 ถิ่นควรพัฒนาให้เกิดความร่วมมือ 3 ฝ่ายตามหลักการ “Public and
                 Private Partnership หรือ PPP”


                      แม้ว่าท้องถิ่นจะได้พัฒนาความ
                 สามารถในการกำกับดูแลของเจ้าหน้าที่ของ          ท้องถิ่นจะต้อง
                 ท้องถิ่น แต่ไม่สามารถทำงานให้ครอบคลุม          คำนึงเสมอว่า

                 พื้นที่หรือลงรายละเอียดการทำงานทั้งหมด         การทำงาน
                 ได้ ดังนั้น การมีส่วนร่วมของประชาชนจะ          ของเอกชน
                 ช่วยสนับสนุนการกำกับดูแลของท้องถิ่นให้

                 มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยท้องถิ่นควร            มีเป้าหมายเพื่อ
                 ดำเนินการให้ความรู้ ความเข้าใจถึงความ          ทำกำไร
                 จำเป็นที่ต้องให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วม
                 ตลอดจนการให้ตัวแทนของประชาชน
                 เข้ามาเป็นคณะทำงาน นอกจากนั้น การมี

                 ส่วนร่วมของประชาชนยังช่วยให้การทำงานของท้องถิ่นมีความโปร่งใส
                 สามารถแก้ข้อสงสัยเรื่องทุจริตที่มักเกิดขึ้นในการจัดจ้างเอกชนได้อีกด้วย


                 	 R บทบาทของเอกชน


                      ที่ผ่านมา เมื่อปัญหาขยะหรือน้ำเสียชุมชนทวีความรุนแรงมากขึ้น

                 ท้องถิ่นมักเลือกที่จะแก้ปัญหาด้วยการเพิ่มอัตราบุคลากร การจัดหา
                 เครื่องจักร เครื่องมือเพิ่มขึ้นและขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐ




                                                    การมีส่วนร่วมของเอกชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106