Page 127 - 11526_Fulltext
P. 127
ตอบโจทย์สิ่งแวดล้อมท้องถิ่น : แนวทางการจัดการขยะและน้ำเสียขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
11
กิจกรรม ข้อมูลที่ต้องรวบรวม ผลการวิเคราะห์/ผลที่ได้รับ
การประเมินสภาพปัญหาการจัดการน้ำเสียชุมชน
1. ศึกษาปริมาณ และ จำนวนประชากร (ตาม สภาพปัญหาและสาเหตุ
ลักษณะน้ำเสียในปัจจุบัน ทะเบียนราษฎร์/แฝง) ของน้ำเสียในเชิงปริมาณ
และในอนาคต (20 ปี) ก า ร ก ร ะ จ า ย ต ั ว ข อ ง และคุณภาพในปัจจุบัน
2. ศึกษาแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ประชากร (ความหนาแน่น และอนาคต (ผลกระทบ
เพื่อกำหนดเทคนิค หรือวิธี ต่อพื้นที่ให้บริการ) และความรุนแรง)
การแก้ไขปัญหา แหล่งกำเนิดน้ำเสีย ตำแหน่งของแหล่งกำเนิด
3. ศึกษาโครงข่ายและ ปริมาณและคุณลักษณะ น้ำเสีย
ประสิทธิภาพระบบท่อ ของน้ำเสีย แนวทางการแก้ไขรวบรวม
รวบรวมและระบายน้ำที่มี แผนผังโครงข่ายและ และบำบัดน้ำเสียที่สามารถ
อยู่ในเขตพื้นที่ให้บริการ ป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ ร ะ บ บ บำบัดน้ำเสียได้ตาม
4. ศึกษาประสิทธิภาพระบบ รวบรวมและระบายน้ำเสีย มาตรฐานน้ำทิ้ง และได้รับ
บำบัดน้ำเสียเดิมที่มีอยู่ใน ในปัจจุบัน การยอมรับจากชุมชน
เขตพื้นที่ให้บริการ (ถ้ามี) ประเภทและประสิทธิภาพ แนวทางการมีส่วนร่วมของ
5. ศึกษาทัศนคติและการมี ของระบบบำบัดน้ำเสีย ประชาชนในการจัดการ
ส่วนร่วมของประชาชนใน แ ล ะ ผ ล ก า ร ต ร ว จ ว ั ด น้ำเสีย
พื้นที่ให้บริการและบริเวณ คุณภาพน้ำเสีย (ถ้ามี)
ที่ตั้งโรงบำบัดน้ำเสีย ทัศนคติของประชาชนใน
พื้นที่ให้บริการ และบริเวณ
ที่ตั้งโรงบำบัดน้ำเสีย
การกำหนดแนวทางในการแก้ปัญหา
และทางเลือกที่เหมาะสม
R การกำหนดแนวทางในการแก้ปัญหา
เมื่อวิเคราะห์และประเมินสภาพปัญหาทั้งในปัจจุบันและอนาคต
แล้ว ท้องถิ่นต้องกำหนดแนวทางหรือวิธีการต่างๆ ในการแก้ปัญหาซึ่งอาจ
มีหลายแนวทางทั้งจากการให้คำแนะนำจากที่ปรึกษา และจาก
การจัดเตรียมโครงการ